!!!การุณย์ สุวรรณรักษา สังคมศึกษาฯ วรนารีเฉลิม จังหวัดสงขลา!!
- หน้าแรก
- รายการสั่งงานวิชาก้าวทันโลกศึกษา 1 ส 31221 (การปกครองของไทย)
- รายการสั่งงานวิชาประวัติศาสตร์ ส 32104
- เนื้อหาวิชาวิชาประวัติศาสตร์ไทย ส 32104 ชั้น ม.5
- นักเรียน ม.5 ส่งงานที่นี่(ไม่ใช้ในภาคเรียนที่ 1/2555)
- นักเรียน ม.4 ส่งงานที่นี่ (ไม่ใช้ในภาคเรียน 1/2555)
- รวมบทความ คำกลอน ข้อคิดสอนใจ
- คลิปคุณธรรมกับบทกลอนสอนใจ
- เนื้อหาวิชาก้าวทันโลกศึกษา 1 ส 31221
- เนื้อหาสาระวิชาก้าวทันโลกศึกษา 2 (กฎหมายที่ประชาชนควรรู้)
- เว็บบอร์ด
- เล่าสู่กันฟัง
- รายการสั่งงานวิชาก้าวทันโลกศึกษา 2 ภาคเรียนที่ 2/2554 ชั้น ม.4
- software
- Trick สำหรับคุณครูคลิกที่นี่จ้า
- บุคคลสำคัญของชาติไทย
- รหัสข้อสอบชั้น ม.4 และ ม.5
- นักเรียนทำข้อสอบที่นี่
- คลิปความรู้เกี่ยวกับ ASEAN
- แผนที่เวลาโลก
- รวมข่าวชาวครู...นานาสาระที่ครูควรรู้
- นักเรียนชั้น ม.4 เข้าศึกษาเนื้อหาวิชาการปกครองของไทย ที่นี่
- รวมแบบทดสอบ 8 กลุ่มสาระ คลิกที่นี่
- krutube
- คลิกเข้าทำแบบทดสอบออนไลน์ที่นี่
- ม.4 คลิกเรียนวิชาวิถีไทยศึกษา 2 ที่นี่
วันจันทร์ที่ 15 สิงหาคม พ.ศ. 2554
วันอาทิตย์ที่ 7 สิงหาคม พ.ศ. 2554
ความเป็นมาของวันแม่
ชาวอเมริกันเป็นผู้กำหนดให้มีวันแม่อย่างเป็นทางการขึ้น และผู้ที่พยายามเรียกร้องให้มีวันแม่ในอเมริกา คือ แอนนา เอ็ม. จาร์วิส คุณครูแห่งรัฐฟิลาเดลเฟีย แต่กว่าเธอจะประสบความสำเร็จก็ครบ 2 ปีพอดีในปี ค.ศ.1914 (พ.ศ.2457) โดยประธานาธิบดี วูดโรว์ วิลสัน ได้มีคำสั่งให้ถือวันอาทิตย์ที่ 2 ของเดือนพฤษภาคมเป็นวันแม่แห่งชาติ และดอกไม้สำหรับวันแม่ของชาวอเมริกันก็คือดอกคาร์เนชั่น ซึ่งจะแบ่งออกเป็น 2 แบบ คือถ้าแม่ยังมีชีวิตอยู่ให้ประดับตกแต่งบ้าน หรือประตูด้วยดอกคาร์เนชั่นสีชมพู แต่ถ้าแม่ถึงแก่กรรมไปแล้วให้ประดับด้วยดอกคาร์เนชั่นสีขาว
ความเป็นมาของวันแม่แห่งชาติในประเทศไทย
งานวันแม่จัดขึ้นครั้งแรกเมื่อวันที่ 10 มีนาคม พ.ศ. 2486 ณ.สวนอัมพร โดยกระทรวงสาธารณสุข แต่ช่วงนั้นเกิดสงครามโลกครั้งที่ 2 งานวันแม่ในปีต่อมาจึงต้องงดไป เมื่อวิกฤติสงครามสงบลง หลายหน่วยงานได้พยายามให้มีวันแม่ขึ้นมาอีก แต่ก็ไม่ประสบผลสำเร็จเท่าที่ควร และมีการเปลี่ยนกำหนดวันแม่ไปหลายครั้ง ต่อมาวันแม่ที่รัฐบาลรับรอง คือวันที่ 15 เมษายน โดยเริ่มจัดตั้งแต่ปี พ.ศ. 2493 แต่ก็ต้องหยุดลงอีกในหลายปีต่อมา เนื่องจากกระทรวงวัฒนธรรมถูกยุบไป ส่งผลให้สภาวัฒนธรรมแห่งชาติซึ่งรับหน้าที่จัดงานวันแม่ขาดผู้สนับสนุน
ต่อมาสมาคมครูคาทอลิกแห่งประเทศไทย ได้จัดงานวันแม่ขึ้นอีกครั้ง ในวันที่ 4 ตุลาคม พ.ศ. 2515 แต่จัดได้เพียงปีเดียวเท่านั้น จนกระทั่งในปี พ.ศ. 2519 คณะกรรมการอำนวยการสภาสังคมสงเคราะห์แห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ จึงได้กำหนดวันแม่ขึ้นใหม่ให้เป็นวันที่แน่นอน โดยถือเอาวันคล้ายวันพระราชสมภพของสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ วันที่ 12 สิงหาคมเป็นวันแม่แห่งชาติ และกำหนดให้ดอกไม้สัญลักษณ์ของวันแม่ คือ ดอกมะลิ นับตั้งแต่นั้นเป็นต้นมา
สัญลักษณ์ที่ใช้ในวันแม่คือ ดอกมะลิ เป็นดอกไม้ที่มีสีขาวบริสุทธิ์ ส่งกลิ่นหอมไปไกลและหอมได้นาน อีกทั้งยังออกดอกได้ตลอดทั้งปี เปรียบได้กับความรักอันบริสุทธิ์ของแม่ที่มีต่อลูกไม่มีวันเสื่อมคลาย
กิจกรรมต่าง ๆ ที่ควรปฏิบัติในวันแม่แห่งชาติ
ชาวอเมริกันเป็นผู้กำหนดให้มีวันแม่อย่างเป็นทางการขึ้น และผู้ที่พยายามเรียกร้องให้มีวันแม่ในอเมริกา คือ แอนนา เอ็ม. จาร์วิส คุณครูแห่งรัฐฟิลาเดลเฟีย แต่กว่าเธอจะประสบความสำเร็จก็ครบ 2 ปีพอดีในปี ค.ศ.1914 (พ.ศ.2457) โดยประธานาธิบดี วูดโรว์ วิลสัน ได้มีคำสั่งให้ถือวันอาทิตย์ที่ 2 ของเดือนพฤษภาคมเป็นวันแม่แห่งชาติ และดอกไม้สำหรับวันแม่ของชาวอเมริกันก็คือดอกคาร์เนชั่น ซึ่งจะแบ่งออกเป็น 2 แบบ คือถ้าแม่ยังมีชีวิตอยู่ให้ประดับตกแต่งบ้าน หรือประตูด้วยดอกคาร์เนชั่นสีชมพู แต่ถ้าแม่ถึงแก่กรรมไปแล้วให้ประดับด้วยดอกคาร์เนชั่นสีขาว
ความเป็นมาของวันแม่แห่งชาติในประเทศไทย
งานวันแม่จัดขึ้นครั้งแรกเมื่อวันที่ 10 มีนาคม พ.ศ. 2486 ณ.สวนอัมพร โดยกระทรวงสาธารณสุข แต่ช่วงนั้นเกิดสงครามโลกครั้งที่ 2 งานวันแม่ในปีต่อมาจึงต้องงดไป เมื่อวิกฤติสงครามสงบลง หลายหน่วยงานได้พยายามให้มีวันแม่ขึ้นมาอีก แต่ก็ไม่ประสบผลสำเร็จเท่าที่ควร และมีการเปลี่ยนกำหนดวันแม่ไปหลายครั้ง ต่อมาวันแม่ที่รัฐบาลรับรอง คือวันที่ 15 เมษายน โดยเริ่มจัดตั้งแต่ปี พ.ศ. 2493 แต่ก็ต้องหยุดลงอีกในหลายปีต่อมา เนื่องจากกระทรวงวัฒนธรรมถูกยุบไป ส่งผลให้สภาวัฒนธรรมแห่งชาติซึ่งรับหน้าที่จัดงานวันแม่ขาดผู้สนับสนุน
ต่อมาสมาคมครูคาทอลิกแห่งประเทศไทย ได้จัดงานวันแม่ขึ้นอีกครั้ง ในวันที่ 4 ตุลาคม พ.ศ. 2515 แต่จัดได้เพียงปีเดียวเท่านั้น จนกระทั่งในปี พ.ศ. 2519 คณะกรรมการอำนวยการสภาสังคมสงเคราะห์แห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ จึงได้กำหนดวันแม่ขึ้นใหม่ให้เป็นวันที่แน่นอน โดยถือเอาวันคล้ายวันพระราชสมภพของสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ วันที่ 12 สิงหาคมเป็นวันแม่แห่งชาติ และกำหนดให้ดอกไม้สัญลักษณ์ของวันแม่ คือ ดอกมะลิ นับตั้งแต่นั้นเป็นต้นมา
สัญลักษณ์ที่ใช้ในวันแม่คือ ดอกมะลิ เป็นดอกไม้ที่มีสีขาวบริสุทธิ์ ส่งกลิ่นหอมไปไกลและหอมได้นาน อีกทั้งยังออกดอกได้ตลอดทั้งปี เปรียบได้กับความรักอันบริสุทธิ์ของแม่ที่มีต่อลูกไม่มีวันเสื่อมคลาย
- ดอกมะลิ ดอกไม้สัญลักษณ์วันเเม่ข้าราชการ พ่อค้า ประชาชน หน่วยงานภาครัฐและเอกชนทั่วประเทศ ร่วมจุดเทียนชัยถวายพระพรแด่สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ
- การประดับไฟเฉลิมพระเกียรติ และประดับธงชาติตามอาคารบ้านเรือน
- จัดกิจกรรมต่าง ๆ เกี่ยวกับวันแม่ เช่น การจัดนิทรรศการ การแสดง การประกวดต่างๆ เพื่อรำลึกถึงพระคุณของแม่
- การบำเพ็ญสาธารณประโยชน์ ทำบุญใส่บาตรอุทิศส่วนกุศล
- นำพวงมาลัยดอกมะลิไปกราบขอพรจากแม่
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)
นักเรียนทุกคน ช่วยตอบแบบสอบถามนี้ด้วยค่ะ
ดูทีวีครูเรียนรู้วิทยายุทธ
Subscribe Now: Feed Icon
ปฏิทินบทความรายเดือนของครูการุณย์
- ตุลาคม (1)
- กันยายน (1)
- สิงหาคม (1)
- กรกฎาคม (1)
- มิถุนายน (3)
- พฤษภาคม (5)
- เมษายน (1)
- มีนาคม (3)
- กุมภาพันธ์ (1)
- มกราคม (6)
- ธันวาคม (2)
- พฤศจิกายน (2)
- ตุลาคม (4)
- กันยายน (1)
- สิงหาคม (6)
- กรกฎาคม (3)
- มิถุนายน (10)
- พฤษภาคม (5)
- เมษายน (8)
- มีนาคม (5)
- กุมภาพันธ์ (10)
- มกราคม (2)
- ธันวาคม (4)
- พฤศจิกายน (6)
- ตุลาคม (3)
- กันยายน (5)
- สิงหาคม (2)
- กรกฎาคม (12)
- มิถุนายน (12)
- พฤษภาคม (17)
- เมษายน (1)
- มีนาคม (19)
- กุมภาพันธ์ (5)
- มกราคม (6)
- ธันวาคม (8)
- พฤศจิกายน (12)
- ตุลาคม (27)
- กันยายน (8)
- สิงหาคม (5)
- กรกฎาคม (9)
- มิถุนายน (5)
- พฤษภาคม (50)
- เมษายน (3)
- มีนาคม (8)
- พฤศจิกายน (4)