Krukaroon: พฤษภาคม 2010

!!!การุณย์ สุวรรณรักษา สังคมศึกษาฯ วรนารีเฉลิม จังหวัดสงขลา!!

วันจันทร์ที่ 31 พฤษภาคม พ.ศ. 2553

การใช้วิธีการทางประวัติศาสตร์ หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 วิชาประวัติศาสตร์ ม.5

ลิงก์ข้างบนนี้สำหรับนักเรียนชั้น ม.5 ที่เรียนวิชาประวัติศาสตร์ ส 32103 หน่วยที่ 2 วิธีการทางประวัติศาสตร์

ลิงก์ข้างล่างนี้
บทเรียนเรื่องประวัติศาสตร์ไทยตอนที่ 1- 56 มีเสียงบรรยายและภาพประกอบครับ

แบบทดสอบ
ชุดที่ 1 ประวัติศาสตร์สากล
ชุดที่ 2 ประวัติศาสตร์สากล
ชุดที่ 3 ประวัติศาสตร์สากล
ชุดที่ 4 ประวัติศาสตร์สากล
ชุดที่ 5 ประวัติศาสตร์สากล
ชุดที่ 6 ประวัติศาสตร์สากล
ชุดที่ 7 ประวัติศาสตร์สากล
ชุดที่ 8 ประวัติศาสตร์สากล
ชุดที่ 9 ประวัติศาสตร์สมัยรัตนโกสินทร์
ชุดที่ 10 ประวัติศาสตร์ไทย

วันอาทิตย์ที่ 30 พฤษภาคม พ.ศ. 2553

ประวัติเมืองสงขลา

ให้นักเรียนชั้น ม.5 ที่เรียนวิชาประวัติศาสตร์ เข้าไปศึกษาเกี่ยวกับประวัิติเมืองสงขลาให้เข้าใจ

โครงงานเรื่องเมืองสงขลา

อยากให้นักเรียนจัดทำโครงงานเกี่ยวกับเมืองสงขลา จำนวน 1 โครงงานครับ โดยทำเป็นกลุ่ม ๆละ 5 คนก็น่าจะดีนะครับ เอาเป็นว่าศึกษาวิธีการเขียนโครงงานให้เข้าใจเสียก่อนนะครับ แล้วลอง ๆทำ ๆ กันดู อย่าเพิ่งเครียดนะครับ
นี่คือตัวอย่างแนวทางการสอนแบบโครงงานอย่างง่ายครับ คลิกที่นี่

วันพุธที่ 26 พฤษภาคม พ.ศ. 2553

มนต์การเมือง เพลงช๊อบชอบ

ความพึงพอใจต่อบรรยากาศในโรงเรียนของเรา

ความพึงพอใจต่อบรรยากาศในโรงเรียนของพวกเรา
พึงพอใจมากที่สุด
พึงพอใจมาก
พึงพอใจปานกลาง
พึงพอใจน้อย
พึงพอใจน้อยมาก
= see results =

วันอังคารที่ 25 พฤษภาคม พ.ศ. 2553

นักเรียน ม.5/1 ส่งงานชิ้นแรกที่นี่ครับ


นักเรียน ม.5/1 ส่งงานชิ้นแรกที่นี่ครับ โดยการคลิกที่หัวข้อแสดงความคิดเห็นครับ แต่ควรบอกชื่อ เลขที่เอาไว้ด้วยนะครับ

วันอาทิตย์ที่ 23 พฤษภาคม พ.ศ. 2553

แบบทดสอบเรื่องการนับศักราชและการแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ สำหรับนักเรียน ม.5

นักเรียนชั้น ม.5 ทำแบบทดสอบโดยคลิกหัวข้อด้านล่าง

แบบทดสอบเรื่องการนับศักราชและการแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์

ต้องการขยายตัวอักษร ให้กดปุ่ม ctrl++
ต้องการให้มองเห็นข้อสอบทั้งหมด ให้คลิดแสดงข้อสอบทั้งหมดครับ

แบบ ทดสอบเรื่องการนับศักราชและการแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์(ลองทำของ ม.2 ดูบ้าง)

นักเรียนม.4/1 ส่งงานชิ้นที่ 2



นักเรียนม.4/1 ส่งงานชิ้นที่ 2 ประวัติการปกครองสมัยกรุงศรีอยุธยาที่นี่ครับ
โดย คลิกที่แสดงความคิดเห็นแล้วอย่าลืมแจ้งเลขที่
ด้วยนะครับ

นักเรียนม.4/2 ส่งงานชิ้นที่ 2



นักเรียนม.4/2 ส่งงานชิ้นที่ 2 ประวัติการปกครองสมัยกรุงศรีอยุธยาที่นี่ครับ
โดย คลิกที่แสดงความคิดเห็นแล้วอย่าลืมแจ้งเลขที่
ด้วยนะครับ

นักเรียนม.4/3 ส่งงานชิ้นที่ 2



นักเรียนม.4/3 ส่งงานชิ้นที่ 2 ประวัติการปกครองสมัยกรุงศรีอยุธยาที่นี่ครับ
โดย คลิกที่แสดงความคิดเห็นแล้วอย่าลืมแจ้งเลขที่
ด้วยนะครับ

นักเรียนม.4/4 ส่งงานชิ้นที่ 2



นักเรียนม.4/4 ส่งงานชิ้นที่ 2 ประวัติการปกครองสมัยกรุงศรีอยุธยาที่นี่ครับ
โดย คลิกที่แสดงความคิดเห็นแล้วอย่าลืมแจ้งเลขที่
ด้วยนะครับ

นักเรียนม.4/5 ส่งงานชิ้นที่ 2



นักเรียนม.4/5 ส่งงานชิ้นที่ 2 ประวัติการปกครองสมัยกรุงศรีอยุธยาที่นี่ครับ
โดย คลิกที่แสดงความคิดเห็นแล้วอย่าลืมแจ้งเลขที่ด้วยนะครับ

นักเรียนม.4/6 ส่งงานชิ้นที่ 2



นักเรียนม.4/6 ส่งงานชิ้นที่ 2 ประวัติการปกครองสมัยกรุงศรีอยุธยาที่นี่ครับ
โดย คลิกที่แสดงความคิดเห็นแล้วอย่าลืมแจ้งเลขที่ด้วยนะครับ

นักเรียนม.4/7 ส่งงานชิ้นที่ 2



นักเรียนม.4/7 ส่งงานชิ้นที่ 2ที่นี่ครับ
โดย คลิกที่แสดงความคิดเห็นแล้วอย่าลืมแจ้งเลขที่
ด้วยนะครับ

นักเรียนม.4/8 ส่งงานชิ้นที่ 2

นักเรียนม.4/8 ส่งงานชิ้นที่ 2 ที่นี่ครับ
โดย คลิกที่แสดงความคิดเห็นแล้วอย่าลืมแจ้งเลขที่
ด้วยนะครับ

นักเรียนม.4/9 ส่งงานชิ้นที่ 2



นักเรียนม.4/9 ส่งงานชิ้นที่ 2 ที่นี่ครับ
โดย คลิกที่แสดงความคิดเห็นแล้ว อย่าลืมแจ้งเลขที่
ด้วยนะครับ

นักเรียนม.4/10 ส่งงานชิ้นที่ 2



นักเรียนม.4/10 ส่งงานชิ้นที่ 2 ประวัติการปกครองสมัยกรุงศรีอยุธยา ที่นี่ครับ
โดย คลิกที่แสดงความคิดเห็นแล้ว อย่าลืมแจ้งเลขที่ด้วยนะครับ

นักเรียนม.4/11 ส่งงานชิ้นที่ 2



นักเรียนม.4/11 ส่งงานชิ้นที่ 2 ประวัติการปกครองสมัยกรุงศรีอยุธยาที่นี่ครับ
โดย คลิกที่แสดงความคิดเห็น อย่าลืมแจ้งเลขที่ด้วยนะครับ

นักเรียนม.4/12 ส่งงานชิ้นที่ 2


นัก เรียนม.4/12 ส่งงานชิ้นที่ 2
ประวัติการปกครองสมัย
กรุงศรีอยุธยา แจ้งที่นี่ครับโดย คลิกที่แสดงความคิดเห็น อย่าลืม
แจ้งเลขที่ด้วยนะครับ

วันเสาร์ที่ 22 พฤษภาคม พ.ศ. 2553

นักเรียนม.4/13 ส่งงานชิ้นที่ 2


นักเรียนม.4/13 ส่งงานชิ้นที่ 2 ประวัติการปกครองสมัย
กรุงศรีอยุธยา แจ้งที่นี่ครับ
โดย คลิกที่แสดงความคิดเห็น อย่าลืม
แจ้งเลขที่ด้วยนะครับ

แบบทดสอบวิชาการปกครองของไทย ส 31221 สำหรับนักเรียนชั้น ม.4

ทำแบบทดสอบการปกครองสมัยกรุงสุโขทัย


ทำแบบทดสอบการปกครองสมัยกรุงศรีอยุธยา

นักเรียนม.5/2 ส่งงานชิ้นแรกที่นี่ครับ



นักเรียนม.5/2 ส่งงานชิ้นแรกที่นี่ครับ

โดย คลิกที่แสดงความคิดเห็นแล้วแนบ
ลิงก์ ชิ้นงานไว้ด้วยครับ อย่าลืมแจ้งเลขที่
ด้วยนะครับ

วันพฤหัสบดีที่ 20 พฤษภาคม พ.ศ. 2553

งานชิ้นที่ 2 ของนักเรียนชั้น ม.4

ชิ้นงานที่ 2 ครับนักเรียน หลังจากเราได้จัดทำบทความเรื่อง ประวัติการปกครองกรุงสุโขทัยพร้อมแบบทดสอบแบบ 4 ตัวเลือกจำนวน 10 ข้อ ไว้บน blog ของนักเรียนเสร็จเรียบร้อยแล้วนั้น
ครูจึงขอมอบหมายงานชิ้นที่ 2 เลยครับ ให้นักเรียนจัดทำบทความ รูปภาพและส่วนประกอบอื่น ๆ ในหัวข้อเรื่อง "ประวัติการปกครองสมัยกรุงศรีอยุธยา พร้อมแบบทดสอบจำนวน15 ข้อ" ขอให้ดำเนินการให้เสร็จสิ้นภายใน 5 มิ.ย 2553 ครับ

งานพิเศษสำหรับนักเรียน ม.4,ม.5 "วันวิสาขบูชา"

งานพิเศษสำหรับนักเรียนชั้น ม.4 และนักเรียนชั้น ม.5 ที่เรียนกับครูรุณย์ เกี่ยวกับการส่งเสริมพระพุทธศาสนา
เนื่องจากวันที่ 28 พ.ค 2553 นี้ เป็นวันสำคัญทางพุทธศาสนาคือ วันวิสาขบูชา ในฐานะที่เราเป็นชาวพุทธ จึงขอให้นำเรื่องวันวิสาขบูชา ความสำคัญ และแนวปฏิบัติตนของศาสนิกชนในวันวิสาขบูชา พร้อมทั้งมีรูปภาพ ประกอบ หรืองานมีเพลงวิสาขบูชาเข้ามาประกอบด้วยก็จะดีไม่น้อย
ขอให้นักเรียนได้ดำเนินการให้เสร็จก่อนวันที่ 28 พ.ค นี้นะครับ สำหรับนักเรียนที่นับถือศาสนาอื่น ก็แล้วแต่ความสมัครใจ จะทำหรือไม่ทำ ก็ไม่มีผลต่อคะแนนแต่ประการใดครับ
องค์ประกอบที่ควรมี


1. เนื้อหาสาระเกี่ยวกับวันวิสาขบูชา
2. กิจกรรมที่พุทธศาสนิกชนควรปฏิบัติิในวันวิสาขบูชา
3. ภาพประกอบที่เกี่ยวข้องสัมพันธ์กับวันวิสาขบูชา
4. เพลงเกี่ยวกับธรรมะ ถ้ามี
*** งานพิเศษวันวิสาขบูชา ของ ม.4 ส่งควบกับงานชิ้นที่ 2 ได้เลยครับ คือครูตรวจครั้งที่ 2
สองเรื่องเลย
งานพิเศษวันวิสาขบูชา ของ ม.5 ให้ส่งควบกับชิ้นที่ 1 ได้เลยครับ คือครูตรวจครั้งที่ 1 สองเรื่องเลยครับ

ทำแบบทดสอบกันดูหน่อยจ้า
แบบทดสอบชุดที่ 1
แบบทดสอบชุดที่ 2

ความ หมาย
คำว่า "วิสาขบูชา" หมายถึงการบูชาในวันเพ็ญเดือน 6 วิสาขบูชา ย่อมาจาก
" วิสาขปุรณมีบูชา " แปลว่า " การบูชาในวันเพ็ญเดือนวิสาขะ " ถ้าปีใดมีอธิกมาส
คือ มีเดือน 8 สองหน ก็เลื่อนไปเป็นกลางเดือน 7


ความ สำคัญ
วันวิสาขบูชา เป็นวันที่พระพุทธเจ้า ประสูติ ตรัสรู้และปรินิพพานซึ่งเกิดขึ้นในวัน
และเดือนเดียวกัน คือ ในวันเพ็ญ (ขึ้น 15 ค่ำ) เดือน 6 ครั้งแรกเมื่อพระพุทธเจ้าประสูติ
เป็นเจ้าชายสิทธัตถะโอรสพระเจ้าสุทโธทนะและ พระนางสิริมหามายา แห่งกรุงกบิลพัสดุ์ โดยประสูติที่สวนลุมพินีวัน ในวันเพ็ญเดือนวิสาขะ (เดือน 6) ก่อนพุทธศักราช 80 ปี
ครั้งที่สอง เมื่อพระพุทธเจ้ามีพระชนมายุ 35 พรรษาได้ตรัสรู้เป็นพระสัมมาสัมพุทธเจ้า
ณ ใต้ร่มพระศรีมหาโพธิ์ ริมฝั่งแม่น้ำเนรัญชรา ตำบลอุรุเวราเสนานิคม แคว้นมคธ ในวันเพ็ญเดือนวิสาขะ (เดือน 6) ก่อนพุทธศักราช 45 ปี
ครั้ง ที่สาม เมื่อพระพุทธเจ้า เสด็จดับขันธปรินิพพานระหว่างต้นรังทั้งคู่ในสาลวโนทยาน นคร
กุสินาราในวันเพ็ญเดือนวิสาขะ (เดือน 6) ก่อนพุทธศักราช 1 ปี เมื่อพระชนมายุ 80 พรรษาเหตุการณ์สำคัญทั้งสามประการนี้เกิดขึ้นในวันและเดือนเดียวกัน พุทธศาสนิกชนจึงจัดให้มี การประกอบพิธีกรรมขึ้นในวันวิสาขบูชาเพื่อน้อมรำลึกถึงพระพุทธเจ้า ซึ่งทรงมีพระมหากรุณาธิคุณอันล้นพ้นต่อสัตว์โลก


วันอังคารที่ 18 พฤษภาคม พ.ศ. 2553

นัก เรียนม.5/8 ส่งงานชิ้นแรกที่นี่ครับ




นักเรียนม.5/8 ส่งงานชิ้นแรกที่นี่ครับ
โดย คลิกที่แสดงความคิดเห็นแล้วแนบ
ลิงก์ชิ้นงานไว้ด้วยครับ อย่าลืมแจ้งเลขที่
ด้วยนะครับ

นักเรียน 4/13 ส่งงานที่บล็อกนี้ครับ


นักเรียนม.4/13 ส่งงานชิ้นแรกที่นี่ครับ
โดย คลิกที่แสดงความคิดเห็นแล้วแนบ
ลิงก์ชิ้นงานไว้ด้วยครับ อย่าลืมแจ้งเลขที่
ด้วยนะครับ

นักเรียน 4/12 ส่งงานที่บล็อกนี้ครับ



นักเรียนม.4/12 ส่งงานชิ้นแรกที่นี่ครับ
โดย คลิกที่แสดงความคิดเห็นแล้วแนบ
ลิงก์ชิ้นงานไว้ด้วยครับ อย่าลืมแจ้งเลขที่
ด้วยนะครับ

นักเรียน 4/11 ส่งงานที่บล็อกนี้ครับ



นักเรียนม.4/11 ส่งงานชิ้นแรกที่นี่ครับ
โดย คลิกที่แสดงความคิดเห็นแล้วแนบ
ลิงก์ชิ้นงานไว้ด้วยครับ อย่าลืมแจ้งเลขที่
ด้วยนะครับ

นักเรียน 4/10 ส่งงานที่บล็อกนี้ครับ



นักเรียนม.4/10 ส่งงานชิ้นแรกที่นี่ครับ
โดย คลิกที่แสดงความคิดเห็นแล้วแนบ
ลิงก์ชิ้นงานไว้ด้วยครับ อย่าลืมแจ้งเลขที่
ด้วยนะครับ

นักเรียน 4/9 ส่งงานที่บล็อกนี้ครับ



นักเรียนม.4/9 ส่งงานชิ้นแรกที่นี่ครับ
โดย คลิกที่แสดงความคิดเห็นแล้วแนบ
ลิงก์ชิ้นงานไว้ด้วยครับ อย่าลืมแจ้งเลขที่
ด้วยนะครับ

นักเรียน 4/8 ส่งงานที่บล็อกนี้ครับ

นักเรียนม.4/8 ส่งงานชิ้นแรกที่นี่ครับ
โดย คลิกที่แสดงความคิดเห็นแล้วแนบ
ลิงก์ชิ้นงานไว้ด้วยครับ อย่าลืมแจ้งเลขที่
ด้วยนะครับ

นักเรียน 4/7 ส่งงานที่บล็อกนี้ครับ



นักเรียนม.4/7 ส่งงานชิ้นแรกที่นี่ครับ
โดย คลิกที่แสดงความคิดเห็นแล้วแนบ
ลิงก์ชิ้นงานไว้ด้วยครับ อย่าลืมแจ้งเลขที่
ด้วยนะครับ

นักเรียน 4/6 ส่งงานที่บล็อกนี้ครับ



นักเรียนม.4/6 ส่งงานชิ้นแรกที่นี่ครับ
โดย คลิกที่แสดงความคิดเห็นแล้วแนบ
ลิงก์ชิ้นงานไว้ด้วยครับ อย่าลืมแจ้งเลขที่
ด้วยนะครับ

นักเรียน 4/5 ส่งงานที่บล็อกนี้ครับ



นักเรียนม.4/5 ส่งงานชิ้นแรกที่นี่ครับ
โดย คลิกที่แสดงความคิดเห็นแล้วแนบ
ลิงก์ชิ้นงานไว้ด้วยครับ อย่าลืมแจ้งเลขที่
ด้วยนะครับ

นักเรียน 4/4 ส่งงานที่บล็อกนี้ครับ



นักเรียนม.4/4 ส่งงานชิ้นแรกที่นี่ครับ
โดย คลิกที่แสดงความคิดเห็นแล้วแนบ
ลิงก์ชิ้นงานไว้ด้วยครับ อย่าลืมแจ้งเลขที่
ด้วยนะครับ

นักเรียน 4/3 ส่งงานที่บล็อกนี้ครับ



นักเรียนม.4/3 ส่งงานชิ้นแรกที่นี่ครับ
โดย คลิกที่แสดงความคิดเห็นแล้วแนบ
ลิงก์ชิ้นงานไว้ด้วยครับ อย่าลืมแจ้งเลขที่
ด้วยนะครับ

นักเรียน 4/2 ส่งงานที่บล็อกนี้ครับ



นักเรียนม.4/2 ส่งงานชิ้นแรกที่นี่ครับ
โดย คลิกที่แสดงความคิดเห็นแล้วแนบ
ลิงก์ชิ้นงานไว้ด้วยครับ อย่าลืมแจ้งเลขที่
ด้วยนะครับ

นักเรียนม.4/1 ส่งงานชิ้นแรกที่นี่ครับ



นักเรียนม.4/1 ส่งงานชิ้นแรกที่นี่ครับ
โดย คลิกที่แสดงความคิดเห็นแล้วแนบ
ลิงก์ชิ้นงานไว้ด้วยครับ อย่าลืมแจ้งเลขที่
ด้วยนะครับ

นัก เรียนม.5/11 ส่งงานชิ้นแรกที่นี่ครับ


นัก เรียนม.5/11 ส่งงานชิ้นแรกที่นี่ครับ
โดยคลิกที่แสดงความคิดเห็นแล้วแนบ
ลิงก์ ชิ้นงานไว้ด้วยครับ อย่าลืมแจ้งเลขที่
ด้วยนะครับ

นัก เรียนม.5/10 ส่งงานชิ้นแรกที่นี่ครับ


นัก เรียนม.5/10 ส่งงานชิ้นแรกที่นี่ครับ
โดยคลิกที่แสดงความคิดเห็นแล้วแนบ
ลิงก์ชิ้นงานไว้ด้วยครับ อย่าลืมแจ้งเลขที่
ด้วยนะครับ

นักเรียนม.5/9 ส่งงานชิ้นแรกที่นี่ครับ



นักเรียนม.5/9 ส่งงานชิ้นแรกที่นี่ครับ
โดยคลิกที่แสดงความคิดเห็นแล้วแนบ
ลิงก์ชิ้นงานไว้ด้วยครับ อย่าลืมแจ้งเลขที่
ด้วยนะครับ

วันจันทร์ที่ 17 พฤษภาคม พ.ศ. 2553

การเรียนการสอนผ่าน blog สไตล์ครูการุณย์

การเรียนการสอน ผ่าน blog และ facebook ตามแนวครูการุณย์ สุวรรณรักษา

เนื่องในสภาพปัจจุบัน การพัฒนาด้าน ICT เป็นไปอย่างรวดเร็ว และให้บริการหลากหลายรูปแบบ เน้นการใช้งานง่ายสะดวกและรวดเร็วเป็นสำคัญ เช่นการบริการให้ผู้ใช้สามารถเข้าไปสร้างพื้นที่
ในการเผยแพร่ความรู้ได้ ฟรี ๆ ที่เรียกว่า blog นั้น มีผู้ให้บริการหลายรายแต่ละรายก็เน้นให้การใช้งานง่าย มีขั้นตอนที่เข้าใจได้ง่าย จึงทำให้การจัดการเีรียนการสอนผ่าน blog เป็นเรื่องใหม่ที่สามารถทำให้ผู้เรียนผู้สอน แลกเปลี่ยนเรียนรู้ กันบนอินเตอร์เน็ต นอกห้องเรียน ครูสั่งงาน ผู้เรียนส่งงาน ครูตรวจงาน ให้คะแนน แจ้งให้นักเรียนทราบ เป็นกระบวนการผ่านระบบอินเตอร์เน็ตทั้งสิ้น
ซึ่งการเรียนการสอนผ่าน blog ต้องทำคู่ขนานไปกับการเรียนการสอนในชั้นเรียน เท่าที่กระผม
ได้ทดลองนำมา ใช้ มีขั้นตอนและกิจกรรมที่มอบหมายนักเรียนดังนี้
ขั้นที่ 1 การให้ความรู้เรื่อง blog โดยผู้เรียนศึกษาสร้าง blog ของครูผู้สอน
ขั้นที่ 2 ให้ผู้เรียนสร้าง blog ครูแนะนำวิธีการสร้างblog เป็นขั้น ๆ ผู้เรียนสามารถคลิกสร้าง
จาก blog ครูผู้สอนได้ทันที
ขั้นที่ 3 ให้ผู้เรียน เรียนรู้การสร้างบทความใหม่ การสร้างแบบทดสอบออนไลน์
โดยครูให้คำแนะนำใน blog ครูผู้สอน และสาธิตให้ผู้เรียนดูจริงในชั้นเรียน
ขั้นที่ 4 ให้ผู้เรียนสมัครขอพื้นที่เว็บฟรีเพื่ออัฟโหลด แบบทดสอบที่สร้าง รูปภาพ mp 3
คลิปและอื่น ๆ โดยแนะนำผู้เรียนเอาไว้ใน blog ผู้สอน และสาธิตให้ผู้เรียนดูในชั้น
เรียน
ขั้นที่ 5 ให้ผู้เรียนสมัคร facebook โดยการแนะำนำผู้เรียนเอาไว้ใน blog ผู้สอน facebook
มีไว้เพื่อการติดต่อ หรือ chat สอบถามข้อสงสัย หรือผู้เรียนแจ้งส่งการบ้าน ครูผู้สอน
แจ้งข้อบกพร่องของงานที่ส่ง หรือแจ้งคะแนนให้ผู้เรียนทราบ ซึ่งจะมีลูกเล่นที่เด่น
และผู้เรียน ให้ความสนใจมากในปัจจุบันนี้
ขั้นที่ 6 ครูมอบหมายงานให้นักเรียนทำ โดยนักเรียนสร้างบทความรายงานไว้บนบล๊อคของผู้
เรียน ไม่ต้องพริ้นกระดาษเข้าปกส่งผู้สอนอีกต่อไป พร้อมกับให้นักเรียนตั้งคำถามใน
รูปแบบทดสอบออนไลน์ไว้ท้ายรายงานด้วย เป็นการเน้นการประหยัดกระดาษ และ
ลดภาวะโลกร้อนได้ทางหนึ่ง
ขั้นที่ 7 ตรวจงาน วิจารณ์งาน และให้คะแนนชิ้นงานของผู้เรียน
ขั้นที่ 8 นำคะแนนที่เรียนในชั้นเรียน มารวมกับคะแนนชิ้นงานต่าง ๆใน blog
ตัดสินผลการเรียนของผู้เรียน
เพิ่มเติม ครูควรทำแบบทดสอบไว้ใน blog ผู้สอนเอาไว้ให้มาก ๆ เพื่อให้ผู้เรียนเข้ามาทำบ่อย ๆ ทำให้ซึมซับความรู้มากยิ่งขึ้น ส่งผลให้ผู้เรียนทำข้อสอบปลายภาคเรียนได้คะแนนดียิ่งขึ้น
หากครูอาจารย์ท่านใด สนใจแนวการเรียนการสอนแนวนี้สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติม
ได้ ครับผม roonsiam@hotmail.com
ครั้งหน้า จะนำผลงานนักเรียน และการโต้ตอบระหว่างผู้สอนผู้เรียนมาให้ดูครับ

  • Blog คืออะไร
    Blog เป็นคำรวมมาจากศัพท์คำว่า เว็บล็อก (WeBlog) สามารถอ่านได้ว่า We Blog หรือ Web Log ไม่ว่าจะอ่านได้อย่างไรทั้งสองคำนี้ก็บ่งบอกถึงความหมายเดียวกัน ว่าคือบล็อก (Blog)
    คำว่า "บล็อก" สามารถใช้เป็นคำกริยาได้ซึ่งหมายถึง การเขียนบล็อก และนอกจากนี้ผู้ที่เขียนบล็อกเป็นอาชีพก็จะถูกเรียกว่า "บล็อกเกอร์"
  • ความเป็นมาของบล็อก
    “Weblog” ถูกใช้งานเป็นครั้งแรกโดย Jorn Barger ในเดือนธันวาคม ปี ค.ศ. 1997 เริ่มแรกคนที่เขียนบล็อกนั้นยังทำกันในระบบ Manual คือเขียนเว็บเพจขึ้นเองทีละหน้า เขียนเป็นงานอดิเรกของกลุ่มสื่ออิสระต่างๆ หลายๆ แห่งกลายเป็นแหล่งข่าวสำคัญให้กับหนังสือพิมพ์หรือสำนักข่าวชั้นนำ แต่ในปัจจุบันนี้ผู้คนหลายล้านคนจากทั่วทุกมุมโลก หันมาเขียนบล็อกกันอย่างแพร่หลาย ตั้งแต่นักเรียน นักศึกษา อาจารย์ นักเขียน ตลอดจนผู้บริหารบริษัทยักษ์ใหญ่ อีกทั้งยังมีเครื่องมือหรือซอฟท์แวร์ให้เราใช้ในการเขียนบล็อกได้มากมาย เช่น Drupal, WordPress, Movable Type เป็นต้น ต่อมามีฝรั่งที่ชอบเรียกสั้นๆ ชื่อนาย Peter Merholz จับมาเรียกย่อเหลือแต่ “Blog” แทนในเดือนเมษายน ปี ค.ศ. 1999 และคำคำนี้เริ่มใช้เป็นครั้งแรกๆ ผ่านทางหน้าหนังสือพิมพ์และนิตยสาร จนมาถึงวันที่ 13 มีนาคม ค.ศ. 2003 ทาง Oxford English Dictionary จึงได้บรรจุคำว่า blog ในพจนานุกรม แสดงว่าได้รับการยอมรับอย่างเป็นทางการ บล็อก (Blog) ขึ้นแท่นศัพท์ยอดฮิต อันดับหนึ่ง ซึ่งถูกเสาะแสวงหา ความหมาย ทางพจนานุกรมออนไลน์ มากที่สุด ประจำปี 2004 และคนเขียนบล็อกก็ได้รับการยอมรับจากสื่อและสำนักข่าวต่างๆ ถึงความรวดเร็วในการให้ข้อมูลตั้งแต่เรื่องการเมืองไปจนกระทั่งเรื่องราวของ การประชุมระดับชาติ และจากเหตุการณ์เหล่านี้ นับได้ว่าบล็อกเป็นสื่อชนิดหนึ่งที่ไม่ต่างจาก วีดีโอ, สิ่งพิมพ์, โทรทัศน์ หรือแม้กระทั่งวิทยุ เราสามารถเรียกได้ว่าบล็อกได้เข้ามาเป็นสื่อชนิดใหม่ที่สำคัญอย่างแท้จริง
    สำนักข่าวเอพีรายงานว่า “เว็บไซต์ ดิกชั่นนารีหรือ พจนานุกรมออนไลน์ “เมอร์เรียม-เว็บสเตอร์” ได้ประกาศรายชื่อ คำศัพท์ซึ่งถูกคลิก เข้าไปค้นหา ความหมายผ่าน ระบบออนไลน์มากที่สุด 10 อันดับแรกประจำปีนี้ ซึ่งอันดับหนึ่งตกเป็นของคำว่า “บล็อก” (blog) ซึ่งเป็นคำย่อของ “เว็บ บล็อก” (web log) โดยนายอาเธอร์ บิคเนล โฆษกสำนักพิมพ์พจนานุกรมฉบับ เมอร์เรียม-เว็บสเตอร์ กล่าวว่า สำนักพิมพ์ได้เตรียมที่จะนำคำว่า “บล็อก” บรรจุลงในพจนานุกรมฉบับล่าสุดทั้งที่เป็นเล่มและ ฉบับออนไลน์แล้ว แต่จากความต้องการของผู้ใช้ที่หลั่งไหลเข้ามา ทำให้เมอร์เรียม-เว็บสเตอร์ตัดสินใจบรรจุคำว่า “บล็อก” ลงในเว็บไซต์ในสังกัดบางแห่งไปก่อน โดยให้คำจำกัดความไว้ว่า “เว็บไซต์ที่บรรจุ เรื่องราวเกี่ยวกับบันทึกส่วนตัวประจำวัน ซึ่งสะท้อนถึงมุมมอง ความคิดเห็นของบุคคล โดยอาจรวมลิงค์เชื่อมต่อไปยังเว็บไซต์อื่นๆ ตามความประสงค์ของเจ้าของเว็บบล็อกเองด้วย” โดยทั่วไปคำศัพท์ที่ถูกบรรจุลงในพจนานุกรมนั้นจะต้องผ่านการใช้งาน อย่างแพร่หลาย มาไม่น้อยกว่า 20 ปี ซึ่งหมายความว่าคำคำนั้นจะต้องถูกนำมาใช้โดยทั่วไปในระยะเวลาหนึ่ง อย่างไรก็ตาม ปัจจุบันคำศัพท์ ทางเทคโนโลยีรวมไปถึงโรคภัยไข้เจ็บใหม่ๆ อย่างเช่น โรคเอดส์ โรคไข้หวัดซาร์ส ถูกบรรจุลงในพจนานุกรมภายในระยะเวลาอันสั้น
    บล็อกมีบทบาทมากขึ้นในปัจจุบันในวงการสื่อมวลชนในหลายประเทศ เนื่องจากระบบแก้ไขที่เรียบง่าย และสามารถตีพิมพ์เรื่องราวได้โดยไม่ต้องใช้ความรู้ในการเขียนเว็บไซต์ เป็นอีกช่องทางหนึ่งในการเผยแพร่ข้อมูล หรือแนวความคิด โดยการเขียนบล็อกสามารถเผยแพร่ข้อมูลสู่ประชาชนได้รวดเร็วและเสียค่าใช้จ่าย น้อยกว่าสื่อในด้านอื่นจากความนิยมที่มากขึ้น ทำให้หลายเว็บไซต์เปิดให้มีส่วนการใช้งานบล็อกเพิ่มขึ้นมาในเว็บของตนเอง เพื่อเรียกให้มีการเข้าสู่เว็บไซต์มากขึ้นทั้งผู้เขียนและผู้อ่าน
  • ความหมายของคำว่า Blog
    บล็อก คือรูปแบบหนึ่งของเว็บไซต์ เป็นการบันทึกบทความของตนเอง (Personal Journal) ลงบนเว็บไซต์ โดยเนื้อหาของบล็อกนั้นสามารถครอบคลุมได้ทุกเรื่อง มีเนื้อหาได้หลากหลาย ไม่ว่าจะเป็นเรื่องราวส่วนตัวที่สามารถเรียกได้ว่า ไดอารีออนไลน์ หรือเป็นบทความเฉพาะด้านต่างๆ สามารถใช้เป็นเครื่องมือสื่อสาร การประกาศข่าวสาร การแสดงความคิดเห็น การเผยแพร่ผลงาน ในหลายด้าน เช่น สิ่งแวดล้อม การเมือง เทคโนโลยี กีฬา ธุรกิจการค้า เป็นต้น อีกทั้งยังสามารถแตกแขนงไปในเนื้อหาในประเภทต่างๆ อีกมากมาย ตามความถนัด ความสนใจของเจ้าของบล็อก เพราะสิ่งสำคัญที่ทำให้บล็อกเป็นที่นิยมก็คือ ผู้เขียนบล็อกนั่นเอง
    บล็อกถูกเขียนขึ้นในลำดับที่เรียงตามเวลาในการเขียน ซึ่งจะแสดงข้อมูลที่เขียนล่าสุดไว้ที่ลำดับแรกสุด โดยปกติบล็อกจะประกอบด้วย ข้อความ ภาพ ลิงค์ และสื่อชนิดต่างๆ ไม่ว่าจะเป็น เพลง วิดีโอ หรือสื่ออื่นๆ ที่สามารถแสดงผลผ่านเว็บไซต์ได้
    จุดเด่น และจุดแตกต่างของบล็อกกับเว็บไซต์โดยปกติคือ บล็อกเป็นเครื่องมือสื่อสารที่สามารถสื่อถึงความเป็นกันเองระหว่างผู้เขียน บล็อก และผู้อ่านบล็อกที่เป็นกลุ่มเป้าหมายผ่านทางระบบการแสดงความคิดเห็น (Comment) ของตนเองใส่ลงไปในบทความนั้นๆ ซึ่งทำให้ผู้เขียนสามารถได้ผลตอบกลับโดยทันที บล็อกบางแห่งจะมีอิทธิพลในการโน้มน้าวจิตใจผู้อ่านสูงมาก แต่ในขณะเดียวกัน บางบล็อกก็จะเขียนขึ้นมาเพื่อให้อ่านกันในกลุ่มเฉพาะ เช่น กลุ่มเพื่อนๆ หรือครอบครัว
  • ส่วนประกอบของ Blog
    บล็อกประกอบไปด้วยส่วนประกอบ 3 ส่วน คือ
    1. หัวข้อ (Title)
    2. เนื้อหา (Post หรือ Content)
    3. วันเวลาที่เขียน (Date/Time)
  • การใช้งานบล็อก
    ผู้ใช้งานบล็อกจะแก้ไขและบริหารบล็อกผ่านทางเว็บเบราว์เซอร์เหมือนการใช้งาน และอ่านเว็บไซต์ทั่วไป โดยจะมีรูปแบบบริหารบล็อกที่แตกต่างกัน เช่นบางระบบที่มีบรรณาธิการของบล็อก ผู้เขียนหลายคนจะส่งเรื่องเข้าทางบล็อก และจะต้องรอให้บรรณาธิการอนุมัติให้บล็อกเผยแพร่ก่อน บล็อกถึงจะแสดงผลในเว็บไซต์นั้นได้ ซึ่งจะแตกต่างจากบล็อกส่วนตัวที่จะให้แสดงผลได้ทันที
    ผู้เขียนบล็อกในปัจจุบันจะใช้งานบล็อกในรูปแบบใดรูปแบบหนึ่งไม่ว่า ติดตั้งซอฟต์แวร์ของตัวเอง หรือใช้งานบล็อกผ่านทางเว็บไซต์ที่ให้บริการบล็อก ผู้เขียนบล็อกสามารถใช้งานได้ทันทีโดยไม่ต้องมีพื้นฐานความรู้ในด้าน HTML หรือการทำเว็บไซต์แต่อย่างใด ทำให้ผู้เขียนบล็อกสามารถใช้เวลาส่วนใหญ่ในการบริหารจัดการ เพิ่มเติม ข้อมูลและสารสนเทศแทนได้ นอกจากนี้ระบบการจัดการบล็อกจะสนับสนุน ระบบ WYSIWYG ซึ่งทำให้ง่ายต่อการเขียน และอาจเพิ่มเติมการมีเทมเพลตในหลายแบบให้เลือกใช้
    สำหรับผู้อ่านบล็อกจะใช้งานได้ในลักษณะเหมือนอ่านเว็บไซต์ทั่วไป และสามารถแสดงความเห็นได้ในส่วนท้ายของแต่ละบล็อกโดยอาจจะต้องผ่านการลง ทะเบียนในบางบล็อก นอกจากนี้ผู้อ่านบล็อกสามารถอ่านบล็อกได้ผ่านระบบฟีด (Feed) ซึ่งมีให้บริการในบล็อกทั่วไป ทำให้ผู้ใช้สามารถอ่านบล็อกได้โดยตรงผ่านโปรแกรมตัวอื่นโดยไม่จำเป็นต้อง เข้ามาสู่หน้าบล็อกนั้น


ข้างล่างนี้เป็นการจัดการเรียนรู้โดยการใช้ blog ของครูพูนศักดิ์ คนเก่งแห่ง thaigoogview.com ครับ
ขั้นตอนการใช้บล็อกในการจัดการเรียนรู้

หลังจากที่ได้รู้ว่าบล็อกคืออะไร สามารถทำอะไรได้บ้าง สมัครสมาชิกแล้ว สร้างบล็อกเป็นแล้ว คราวนี้ก็เข้าสู่วิธีการที่จะนำบล็อกไปใช้ในการจัดการเรียนรู้ ว่าจะดำเนินการอย่างไร

เพื่อให้เข้าใจได้ง่ายขึ้น ผมจะยกตัวอย่างที่ผมได้ทดลองใช้ และเพื่อนครูที่กำลังทดลองใช้กันอยู่ ดังนี้

  • ขั้นที่ 1 เลือกเนื้อหาที่จะใช้
    การที่ครูผู้สอนจะใช้บล็อกเพื่อประกอบการจัดการเรียนการสอนนั้น มิได้หมายความว่าทั้งภาคเรียนต้องใช้ตลอด แต่ควรเลือกใช้ในบางกรณีเพื่อทำให้การจัดการเรียนการสอนที่ไปกระตุ้นให้การ เรียนการสอนมีเทคนิควิธีการที่แปลกออกไป โดยมีจุดมุ่งหมายหลักๆดังนี้
    1. เพื่อให้นักเรียนสามารถใช้อินเทอร์เน็ตในสิ่งที่เป็นประโยชน์ มิใช่ใช้อินเทอร์เน็ตเพียงแค่เล่นเกม หรือใช้ในสิ่งที่ไม่ค่อยจะมีสาระมากนัก เป็นการลดการใช้อินเทอร์เน็ตในทางที่ไม่เหมาะสม
    2. เพื่อให้นักเรียนได้รู้จักการค้นคว้าข้อมูลตามหัวข้อที่ครูกำหนด แล้วนำมาเรียบเรียงใหม่ ซึ่งเหมือนกับทำรายงานส่งครู มิได้มุ่งเน้นให้นักเรียนไปคัดลอกข้อมูลจากหนังสือ จากไฟล์ Word ไฟล์ PowerPoint หรือ เว็บไซต์ต่างๆ แล้วมาใส่ลงเลย
    3. เพื่อเป็นการประหยัดค่าใช้จ่าย ไม่ต้องเสียค่ากระดาษ ค่าหมึก ค่าเย็บเล่มส่งครู
    4. เพื่อให้ผลงานของนักเรียนได้ถูกตรวจสอบจากผู้อื่นด้วย ทำให้ต้องมีการอ้างอิงอย่างถูกต้อง จะละเลยเพราะคิดว่าครูผู้สอนไม่รู้ไม่ได้ เป็นการปลูกฝังให้นักเรียนเคารพสิทธิผู้อื่น
    5. เพื่อให้ครูและนักเรียนได้รู้จักกับเทคโนโลยีใหม่ๆ ที่สามารถนำมาใช้ในการจัดการเรียนการสอนได้
    6. เพื่อเป็นแหล่งข้อมูลสำหรับผู้อื่นที่ได้เข้ามาศึกษาค้นคว้าต่อไป
    ดังนั้น ควรเลือกเนื้อหาที่ต้องมีการเขียนรายงานหลังจากไปค้นคว้ามา สามารถแทรกภาพได้ด้วย
  • ขั้นที่ 2 สร้างบล็อกสั่งงาน โดยสร้างขึ้นมาเพียงภาคเรียนละ 1 Node ก็เพียงพอ
    เช่น http://www.thaigoodview.com/node/21509


ในขั้นตอนนี้มีจุดประสงค์เพื่อ ให้ครูผู้สอนสร้าง URL เพื่อไปบอกนักเรียนว่า ครูได้สั่งงานทั้งภาคเรียนไว้แล้วที่ URL ไหน ไม่ว่าครูคนนั้นจะสอนกี่ห้อง กี่วิชา ในภาคเรียน 1 ภาคเรียน ก็สร้างเพียง 1 Node เพราะครูจะได้ไม่ยุ่งยากในการจำ นักเรียนก็ไม่งง แม้จะอยู่ต่างห้องกัน พอเปลี่ยนภาคเรียนใหม่ค่อยสร้าง Node ใหม่ ลองดูตัวอย่างที่ http://www.thaigoodview.com/node/21509
แต่ถ้าคุณครูอยากสร้างวิชาละ 1 Node ก็ไม่เป็นไร สามารถทำได้ครับ ลองดูที่ http://www.thaigoodview.com/node/21175

  • ขั้นที่ 3 สร้างบล็อกส่งงาน ควรสร้าง 1 Node ต่อ 1 งาน เพื่อสะดวกในการส่งงานของนักเรียน และสะดวกในการตรวจงานของครู
    เช่น http://www.thaigoodview.com/node/21511
    ในขั้นตอนนี้ครูผู้สอนต้องเตรียมการล่วงหน้าเช่นเดียวกัน ซึ่งต้องสัมพันธ์กับตอนที่ 2 เช่นตอนที่ 2 สั่งงานไว้ว่า
    ชั้นม.6/1
    - งานครั้งที่ 1
    - งานครั้งที่ 2
    - งานครั้งที่ 3
    - .............

    ต้องไปสร้าง Node งานครั้งที่ 1 ไว้ ว่าจะให้นักเรียนทำอะไร ส่งงานอย่างไร หมดเขตส่งเมื่อไร คะแนนเท่าไร
    สร้าง Node งานครั้งที่ 2 ไว้ ว่าจะให้นักเรียนทำอะไร ส่งงานอย่างไร หมดเขตส่งเมื่อไร คะแนนเท่าไร
    สร้าง Node งานครั้งที่ 3 ไว้ ว่าจะให้นักเรียนทำอะไร ส่งงานอย่างไร หมดเขตส่งเมื่อไร คะแนนเท่าไร
    เสร็จแล้ว กลับไปทำลิ้งค์หน้าที่ทำในขั้นตอนที่ 2 ให้มายังหน้าในขั้นตอนที่ 3
  • ขั้นที่ 4 ให้นักเรียนสมัครสมาชิก และอธิบายการเรียนการสอนสอนโดยใช้บล็อก ว่านักเรียนต้องทำดังนี้
    - สมัครสมาชิก อ่านวิธีการสมัคร คลิก http://www.thaigoodview.com/node/20850?page=0%2C2
    - วิธีการใช้บล็อก ศึกษาจาก http://www.thaigoodview.com/node/20850?page=0%2C3
  • ขั้นที่ 5 การส่งงานของนักเรียน ในการส่งงานของนักเรียนสามารถทำ ได้หลากหลายวิธี เช่น ให้นักเรียนทำลงในกระดาษแล้วส่งครูโดยตรง แต่วิธีที่ประหยัด และนักเรียนชื่นชอบ คือการให้ตอบส่งในบล็อก เมื่อทำเสร็จ ก็จะได้ URL ของแต่ละคน ก็ให้มาแจ้งส่ง โดยคลิกที่แสดงความคิดเห็น แล้วบอก URL ของบล็อกที่ตนเองสร้างไว้ ซึ่งในการแจ้งส่ง นักเรียนต้องแจ้งตรงตามห้องที่ครูกำหนดไว้ในขั้นที่ 3 เช่น http://www.thaigoodview.com/node/21511
  • ขั้นที่ 6 การตรวจงานของครูผู้สอน ครูผู้สอนเข้าไปยังห้องที่ให้นักเรียนส่งงาน แล้วคลิกที่ URL ที่นักเรียนแจ้งส่ง แล้วให้ข้อคิดเห็นที่แสดงความคิดเห็นของแต่ละชิ้นงาน เช่น http://www.thaigoodview.com/node/23185
  • พอได้มาเจอข้อมูลท่านผู้รู้เข้าทำให้มองเห็นวิธีการโดยเฉพาะบล็อกสั่งงาน บล็อกส่งงาน
    อะไรทำนองนี้แหละเดี๋ยวจะนำไปปรับปรุงอีกที ขอขอบคุณท่านอาจารย์พูนศักดิ์เป็นอย่างสูงครับ พอดีผมทำแบบเดาสุ่มครับ พอดีวันนี้มาเปิดเจอของท่าน

วันอาทิตย์ที่ 16 พฤษภาคม พ.ศ. 2553

นักเรียนส่งงานชิ้นแรกกันแล้ว


ตอนนี้นักเรียน ม.4 ม.5 ส่งงานชิ้นแรกกันแล้ว คิดว่าคนอื่น ๆ ก็น่าจะทำได้สำเร็จและส่งงานชิ้นแรกเสร็จสิ้นในสัปดาห์นี้ คนที่ยังไม่ลงมือทำก็พอจะมีเวลาให้ลงมือทำได้แล้ว โดยอ่านวิธีการจาก
เว็บนี้นะครับ การส่งงานชิ้นต่อ ๆ ไปก็ทำได้อย่างง่ายดายแล้ว ยุ่งยากก็ในตอนเริ่มต้นเล็กน้อยเท่านั้นเอง

วันอังคารที่ 11 พฤษภาคม พ.ศ. 2553

การนับศักราชและการแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์สากลและไทย






















งานชิ้นแรกของชั้น ม.5 วิชา ส 32103ให้ครอบคลุมเนื้อหาตามนี้ คลิกที่นี่
การนับศักราชและการแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์สากลและไทย
คลิกหัวข้อด้านล่างเพื่อศึกษา
สื่อการสอนเรื่อง การนับและเทียบศักราช
ทดลองทำแบบทดสอบ
ทดลองทำแบบทดสอบของนักเรียนชชั้น ม.2


เว็บบล๊อคกลอนสอนใจ

เว็บกลอนสอนใจ

แนะนำการทำ Link

-เริ่มเลยนะ
-พิมพ์คำว่า "แบบทดสอบหลัีงเรียน"
-darkหรือทำแถบคลุมข้อความ "แบบทดสอบหลังเรียน"
-คลิกที่
-ลบ Http:// ออก แล้วคลิกขวา คลิกวาง (กรณีที่เราก๊อปปี้ URL ไฟล์ Test1.htmlเอาไว้ก่อนแล้ว หากยัง
ไม่ก๊อปปี้ก็ให้ไปก๊อปปี้มาวางตรงนี้)
-คลิกเผยแพร่บทความ
เป็นอันว่าแบบทดสอบของเราก็พร้อมให้บริการแก่ผู้เข้ามาเยี่ยมชม เว็บ blog ของนักเรียนแล้วครับ
โอเคนะ อย่าทำคิ้วยุ่ง 555

วิธีนำไฟล์ข้อสอบฝากบนอินเตอร์เน็ต

มาเริ่มกันเลยนะ
-เข้า http://uploadingit.com/
- ใส่ Username คงจำได้นะ
- ใส่ Password
- คลิก login
-คลิกที่แถบ upload
- คลิกที่แถบ Select File
ค้นหาไฟล์ test1.html ที่ Save เอาไว้ คลิกที่ไฟล์นั้น
- คลิก Open
- คลิกแถบ Start Upload
สักครู่ เมื่อครบ 100 %แล้ว
-คลิก Close
ต่อไป
-คลิกลูกศร
-คลิกที่ Link ดังภาพ

-คัดลอกหรือก๊อปปี้ URL เฉพาะที่อยู่ในกรอบล่างสุด ภายในแถบสีน้ำเงินเท่านั้นนะครับดังภาพ




นักเรียนก๊อปปี้ตรงนี้แหละไปวางในเว็บบล๊อคของนักเรียน โดยทำหัวข้อไว้ใต้เนื้อหาสาระว่า
แบบทดสอบหลังเรียน แล้วคลิกเพื่อใส่ Link เราก็ใส่ที่เราก๊อปปี้เอาไว้ลงตรงนี้ครับ แล้วคลิกเผยแพร่บทความ
เป็นอันเสร็จเรียบร้อยครับผม
อดทนกันหน่อยนะครับ ยุ่งยากนิดหน่อยแต่ท้าทายนักสู้ทั้งหลายจริงไหมเอ่ย 555

นักเรียนทุกคน ช่วยตอบแบบสอบถามนี้ด้วยค่ะ

ดูทีวีครูเรียนรู้วิทยายุทธ

Subscribe Now: Feed Icon